เรื่อง การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยใช้รูปแบบ SSCS
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม และมีจริยธรรมมีวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตโดยการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข และมีความรับผิดชอบ มีการเรียนรู้และมีปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดการเรียนรู้ และแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตมีความพึงพอใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ โดยมุ่งเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ( Student - centered ) บนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
( แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555 – 2559 : ฉบับที่ 11 )
( แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555 – 2559 : ฉบับที่ 11 )
คณิตศาสตร์เป็นวิชาหนึ่งที่มีความสำคัญ และเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องสามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการคิดต่างๆ
อาทิเช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดไตร่ตรอง การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การคิดแก้ปัญหา และการคิดอย่างมีวิสัยทัศน์ ถ้าทุกองค์กรเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับการศึกษาร่วมมือร่วมใจกันปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมทางด้านการเรียนการสอนแก่นักเรียนและเยาวชนให้เป็นผู้มีบุคลิกภาพที่แสดงว่านักเรียนคิดเป็น
ก็ย่อมจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศชาติได้อย่างยั่งยืน
( ทิศนา แขมมณี. 2557 : 248-249 ) จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่าบทบาทของครูยุคใหม่ไม่เพียงแต่เป็นผู้สอนแต่ต้องเป็นผู้นำในการพัฒนาทักษะในด้านต่างๆให้กับนักเรียนดังนั้นการพัฒนา
การจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ เพื่อเพิ่มทักษะต่างๆให้กับนักเรียนจึงเป็นหน้าที่หลักของครูทุกคนดังเช่นในปัจจุบันความต้องการทักษะใหม่ๆ
ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งครูต้องยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอน จากการยึดครูเป็นศูนย์กลางคือครูเป็นผู้บรรยาย
มาเป็นคณะครูร่วมกันออกแบบการจัดการเรียนการสอน
ให้นักเรียนใช้เป็นเครื่องมือไปเรียนรู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเอง ซึ่งครูผู้อำนวยความสะดวก เสนอแนะเครื่องมือและการเข้าถึงองค์ความรู้ผ่านวิธีการต่างๆ โดยเฉพาะผ่านเทคโนโลยี
( Technology ) ให้เข้าถึงความรู้ได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
นำความรู้ที่ได้มาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในห้องเรียน ซึ่งเรียกกระบวนการเรียนรู้แบบนี้ว่า Active Learning โดยยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง ( Student -centered )
ซึ่งจะทำให้นักเรียนเกิดทักษะและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตรงกับการเรียนรู้แบบ 3R + 8C + 2L
เป็นทักษะที่ต้องการในศตวรรษที่ 21
( วิจารณ์ พานิช. 2555 : 16-21 )
ได้กล่าวไว้ว่า
3R ได้แก่ Reading ( อ่านออก ) , ( W )Riting ( เขียนได้ ) , ( A )Rithemetics ( คิดเลขเป็น)
8C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving(ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา )
3R ได้แก่ Reading ( อ่านออก ) , ( W )Riting ( เขียนได้ ) , ( A )Rithemetics ( คิดเลขเป็น)
8C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving(ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา )
Creativity
and Innovation ( ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์
และนวัตกรรม )
Communications, Information, and Media Literacy(ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ)
Computing and ICT Literacy ( ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร )
Career and Learning Skills ( ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ )
Change ( ทักษะการเปลี่ยนแปลง ) และ 2L ได้แก่ Learning Skills ( ทักษะการเรียนรู้ )
และ Leadership ( ภาวะผู้นำ )
แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนข้างต้นต้องการให้นักเรียนมีทักษะ และมีกระบวนการคิดอย่างสมเหตุสมผลมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ แต่ ความจริงแล้วในปัจจุบันพบว่านักเรียนอ่อนคณิตศาสตร์มากในปัจจุบัน โดยดูจากผลการประเมินการศึกษาระดับชาติพบว่านักเรียนมีผลการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำทุกปีซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุดังต่อไปนี้ และได้สร้างนวัตกรรมโดยใช้โปรแกรม CAI
มาใช้แก้ปัญหา ในข้อต่างๆ ตามหัวข้อที่ อธิบายไว้ด้านล่างนี้
Cross-cultural
Understanding ( ทักษะด้านความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม
ต่างกระบวนทัศน์ )
Collaboration, Teamwork and Leadership(ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม
และภาวะผู้นำ )Communications, Information, and Media Literacy(ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ)
Computing and ICT Literacy ( ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร )
Career and Learning Skills ( ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ )
Change ( ทักษะการเปลี่ยนแปลง ) และ 2L ได้แก่ Learning Skills ( ทักษะการเรียนรู้ )
และ Leadership ( ภาวะผู้นำ )
แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนข้างต้นต้องการให้นักเรียนมีทักษะ และมีกระบวนการคิดอย่างสมเหตุสมผลมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้ แต่ ความจริงแล้วในปัจจุบันพบว่านักเรียนอ่อนคณิตศาสตร์มากในปัจจุบัน โดยดูจากผลการประเมินการศึกษาระดับชาติพบว่านักเรียนมีผลการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำทุกปีซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุดังต่อไปนี้ และได้สร้างนวัตกรรมโดยใช้โปรแกรม CAI
มาใช้แก้ปัญหา ในข้อต่างๆ ตามหัวข้อที่ อธิบายไว้ด้านล่างนี้
1. เกี่ยวกับนักเรียน ครูมีความเห็นในระดับมากกว่า สาเหตุที่นักเรียนอ่อนคณิตศาสตร์เกิดจาก นักเรียนไม่ ชอบคิด ไม่ชอบแก้ปัญหา ขาดการฝึกฝนและทบทวนด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ แต่นักเรียนมี ความเห็นว่าสาเหตุดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง
2. เกี่ยวกับผู้ปกครอง ครูมีความเห็นในระดับมากกว่า ผู้ปกครองมีการศึกษาน้อยและผู้ปกครองไม่สนับสนุน หรือเอาใจใส่ในการเรียนของนักเรียน เป็นสาเหตุที่ทำให้นักเรียนอ่อนคณิตศาสตร์ แต่นักเรียนมีความเห็น
ในข้อการศึกษาของผู้ปกครองว่าอยู่ในระดับปานกลาง และเห็นว่าการที่ผู้ปกครองไม่สนับสนุนหรือเอาใจใส่การเรียนของนักเรียนเป็นสาเหตุในระดับน้อย
3. เกี่ยวกับหลักสูตร ครูมีความเห็นในระดับมากกว่า สาเหตุที่นักเรียนอ่อนคณิตศาสตร์อันเนื่องมาจาก สื่อ การสอนและเครื่องอำนวยการสอนไม่เพียงพอ แต่นักเรียนในระดับประถมศึกษามีความเห็นในสาเหตุดังกล่าวในระดับน้อย
4. เกี่ยวกับครูผู้สอน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษามีความเห็นในระดับมากกว่า ในสาเหตุที่นักเรียนอ่อน คณิตศาสตร์เนื่องมาจากครู ได้แก่ ครูสอนไม่ดี อธิบายไม่รู้เรื่อง ครูดุเจ้าอารมณ์ ครูไม่เข้มงวดในการทำการบ้าน ครูสอนจริงจังบรรยากาศเครียดขาดอารมณ์ขัน ครูไม่อดทนที่จะอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ครูไม่ใช้สื่อการสอนเพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจ ครูให้นักเรียนอ่านเองสรุปเองแล้วมาสอบ วิธีสอนของครูไม่น่าสนใจ ครูมีความรู้ไม่ดีขาดความมั่นใจตนเอง ครูไม่เปิดใจกว้างให้นักเรียนได้ตอบอย่างอิสระ ครูไม่ จบสาขาวิชาคณิตศาสตร์โดยตรง ครูมีภาระงานที่รับผิดชอบในโรงเรียนมากเกินไป และนักเรียนในระดับประถมศึกษามีความเห็นว่าทุกข้อที่กล่าวมาปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ( สมวงษ์ แปลงประสพโชค , เดช บุญประจักษ์ และจรรยา ภูอุดม. 2553 : 20 - 21 ) ดังนั้นปัญหาของนักเรียนที่มีผลการเรียน ในวิชาคณิตศาสตร์ต่ำอันหนึ่งสืบเนื่องมาจากการขาดทักษะในการคิดแก้ปัญหาที่ดี ขาดกระบวนการในการแก้ ปัญหาที่ดีขาดความพึงพอใจที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ทำให้นักเรียนเจอปัญหาแล้วไม่มีความมั่นใจในตนเอง ที่จะคิดแก้ไขปัญหานั้นได้ การจัดการเรียนการสอนที่ดีมีรูปแบบของการคิดแก้ปัญหาจะส่งผลให้นักเรียนได้เกิด ทักษะในการแก้ปัญหาและสร้างความพึงพอใจที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหาจึงมีความจำเป็นและเป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือการแก้ปัญหาใหม่ๆ โดยจะมีขั้น ตอน หรือกระบวนการในการแก้ปัญหาให้บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ และนักเรียนจะได้ฝึกกระบวนการคิดแก้ปัญหาอยู่สม่ำเสมอ และหลากหลายวิธี โดยการจัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการคิด แก้ปัญหาอีกทั้งยังควรฝึกให้นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองอย่างมีเหตุผลซึ่ง ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหาของบุคคลจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะของสมอง ประสบการณ์ ความสนใจ สติปัญญา ความพร้อม แรงจูงใจ อารมณ์ และสภาพแวดล้อม ทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วนี้มีผลในด้านการสร้างให้นักเรียนได้เกิดความคิดและจะนำไปใช้ในการแก้ปัญหา ( สุคนธ์ และพรรณี สินธพานนท์. 2551 ) ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ SSCS ซึ่งเป็นกระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างมีเหตุและผลแยกประเด็นปัญหาและค้นหาข้อมูลจากโจทย์เหมาะกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในเรื่องของการได้มาซึ่งคำตอบที่ต้องการโดยผ่านกระบวนการคิดอย่างสมเหตุและผลและยังได้ฝึกการวางแผนในการแก้ปัญหาจนถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลและวิธีการในการแก้ปัญหาการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ sscs จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนที่ฝึกนักเรียนให้คิดแก้ปัญหาทางคณิตสาสตร์ได้อย่างเป็นระบบและทำให้ผลการเรียนคณิตศาสตร์ดีขึ้นได้ โดยให้นักเรียนได้มีโอกาสได้แสดงออกทางความคิดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับข้อมูล และวิธีแก้ปัญหาโจทย์ทาง คณิตศาสตร์ ส่งผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์และมีความต้องการที่จะเรียนเนื้อหาต่างๆ ในบทต่อๆไป สิ่งต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นจะอยู่ในกระบวนการของการคิดแก้ปัญหาโดยใช้ รูปแบบ SSCS ในการจัดการเรียนการสอนในเรื่องเศษส่วนในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5
สรุปการนำ นวัตกรรม มาช่วยแก้ไข ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
นวัตกรรมที่นำมาใช้แก้ปัญหา ใช้เป็นสื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชื่อ โปรแกรม CAI
ดังมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. จัดทำรูปที่สวยงาม มีภาพเคลื่อนไหว ในโจทย์ ที่เป็นรูปเศษส่วน
( ใช้แก้ปัญหา ของข้อ 3)
2. จัดทำเป็นข้อๆ ให้เหมาะสมกับเวลาในการทดสอบนักเรียน
( ใช้แก้ปัญหา ของ ข้อ 1,2 )
3. แต่ละข้อจะแบ่ง เป็น ความรู้ ความเข้าใจ และการคิดแก้ปัญหา โดยแต่ละข้อ
จะเปลี่ยนรูป ไปตามโจทย์ปัญหา ( ใช้แก้ปัญหา ของ ข้อ 4 )
4. เมื่อนักเรียนทำโจทย์ครบทุกข้อ สามารถตรวจสอบคำตอบด้วยตนเอง ครูจะเป็นผู้แนะ นำและเสริม ความรู้ให้ในส่วนที่นักเรียน ยังทำคะแนนได้ไม่ดี ดูจาก ผลการออกแบบข้อ 3
2. เกี่ยวกับผู้ปกครอง ครูมีความเห็นในระดับมากกว่า ผู้ปกครองมีการศึกษาน้อยและผู้ปกครองไม่สนับสนุน หรือเอาใจใส่ในการเรียนของนักเรียน เป็นสาเหตุที่ทำให้นักเรียนอ่อนคณิตศาสตร์ แต่นักเรียนมีความเห็น
ในข้อการศึกษาของผู้ปกครองว่าอยู่ในระดับปานกลาง และเห็นว่าการที่ผู้ปกครองไม่สนับสนุนหรือเอาใจใส่การเรียนของนักเรียนเป็นสาเหตุในระดับน้อย
3. เกี่ยวกับหลักสูตร ครูมีความเห็นในระดับมากกว่า สาเหตุที่นักเรียนอ่อนคณิตศาสตร์อันเนื่องมาจาก สื่อ การสอนและเครื่องอำนวยการสอนไม่เพียงพอ แต่นักเรียนในระดับประถมศึกษามีความเห็นในสาเหตุดังกล่าวในระดับน้อย
4. เกี่ยวกับครูผู้สอน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษามีความเห็นในระดับมากกว่า ในสาเหตุที่นักเรียนอ่อน คณิตศาสตร์เนื่องมาจากครู ได้แก่ ครูสอนไม่ดี อธิบายไม่รู้เรื่อง ครูดุเจ้าอารมณ์ ครูไม่เข้มงวดในการทำการบ้าน ครูสอนจริงจังบรรยากาศเครียดขาดอารมณ์ขัน ครูไม่อดทนที่จะอธิบายให้นักเรียนเข้าใจ ครูไม่ใช้สื่อการสอนเพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจ ครูให้นักเรียนอ่านเองสรุปเองแล้วมาสอบ วิธีสอนของครูไม่น่าสนใจ ครูมีความรู้ไม่ดีขาดความมั่นใจตนเอง ครูไม่เปิดใจกว้างให้นักเรียนได้ตอบอย่างอิสระ ครูไม่ จบสาขาวิชาคณิตศาสตร์โดยตรง ครูมีภาระงานที่รับผิดชอบในโรงเรียนมากเกินไป และนักเรียนในระดับประถมศึกษามีความเห็นว่าทุกข้อที่กล่าวมาปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ( สมวงษ์ แปลงประสพโชค , เดช บุญประจักษ์ และจรรยา ภูอุดม. 2553 : 20 - 21 ) ดังนั้นปัญหาของนักเรียนที่มีผลการเรียน ในวิชาคณิตศาสตร์ต่ำอันหนึ่งสืบเนื่องมาจากการขาดทักษะในการคิดแก้ปัญหาที่ดี ขาดกระบวนการในการแก้ ปัญหาที่ดีขาดความพึงพอใจที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ทำให้นักเรียนเจอปัญหาแล้วไม่มีความมั่นใจในตนเอง ที่จะคิดแก้ไขปัญหานั้นได้ การจัดการเรียนการสอนที่ดีมีรูปแบบของการคิดแก้ปัญหาจะส่งผลให้นักเรียนได้เกิด ทักษะในการแก้ปัญหาและสร้างความพึงพอใจที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ได้อีกด้วย ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหาจึงมีความจำเป็นและเป็นพื้นฐานในการแก้ปัญหาในสถานการณ์หรือการแก้ปัญหาใหม่ๆ โดยจะมีขั้น ตอน หรือกระบวนการในการแก้ปัญหาให้บรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ และนักเรียนจะได้ฝึกกระบวนการคิดแก้ปัญหาอยู่สม่ำเสมอ และหลากหลายวิธี โดยการจัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการคิด แก้ปัญหาอีกทั้งยังควรฝึกให้นักเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเองอย่างมีเหตุผลซึ่ง ความสามารถในการคิดแก้ ปัญหาของบุคคลจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะของสมอง ประสบการณ์ ความสนใจ สติปัญญา ความพร้อม แรงจูงใจ อารมณ์ และสภาพแวดล้อม ทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วนี้มีผลในด้านการสร้างให้นักเรียนได้เกิดความคิดและจะนำไปใช้ในการแก้ปัญหา ( สุคนธ์ และพรรณี สินธพานนท์. 2551 ) ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ SSCS ซึ่งเป็นกระบวนการคิดแก้ปัญหาอย่างมีเหตุและผลแยกประเด็นปัญหาและค้นหาข้อมูลจากโจทย์เหมาะกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในเรื่องของการได้มาซึ่งคำตอบที่ต้องการโดยผ่านกระบวนการคิดอย่างสมเหตุและผลและยังได้ฝึกการวางแผนในการแก้ปัญหาจนถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลและวิธีการในการแก้ปัญหาการจัดการ เรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ sscs จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนที่ฝึกนักเรียนให้คิดแก้ปัญหาทางคณิตสาสตร์ได้อย่างเป็นระบบและทำให้ผลการเรียนคณิตศาสตร์ดีขึ้นได้ โดยให้นักเรียนได้มีโอกาสได้แสดงออกทางความคิดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเกี่ยวกับข้อมูล และวิธีแก้ปัญหาโจทย์ทาง คณิตศาสตร์ ส่งผลให้นักเรียนมีความพึงพอใจที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์และมีความต้องการที่จะเรียนเนื้อหาต่างๆ ในบทต่อๆไป สิ่งต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นจะอยู่ในกระบวนการของการคิดแก้ปัญหาโดยใช้ รูปแบบ SSCS ในการจัดการเรียนการสอนในเรื่องเศษส่วนในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5
สรุปการนำ นวัตกรรม มาช่วยแก้ไข ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
นวัตกรรมที่นำมาใช้แก้ปัญหา ใช้เป็นสื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชื่อ โปรแกรม CAI
ดังมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. จัดทำรูปที่สวยงาม มีภาพเคลื่อนไหว ในโจทย์ ที่เป็นรูปเศษส่วน
( ใช้แก้ปัญหา ของข้อ 3)
2. จัดทำเป็นข้อๆ ให้เหมาะสมกับเวลาในการทดสอบนักเรียน
( ใช้แก้ปัญหา ของ ข้อ 1,2 )
3. แต่ละข้อจะแบ่ง เป็น ความรู้ ความเข้าใจ และการคิดแก้ปัญหา โดยแต่ละข้อ
จะเปลี่ยนรูป ไปตามโจทย์ปัญหา ( ใช้แก้ปัญหา ของ ข้อ 4 )
4. เมื่อนักเรียนทำโจทย์ครบทุกข้อ สามารถตรวจสอบคำตอบด้วยตนเอง ครูจะเป็นผู้แนะ นำและเสริม ความรู้ให้ในส่วนที่นักเรียน ยังทำคะแนนได้ไม่ดี ดูจาก ผลการออกแบบข้อ 3
( ใช้แก้ปัญหา ของข้อ 3)
ท่านใดสนใจสามารถเข้าดูรายละเอียด โปรแกรมCAI ได้ที่คลังสื่อบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI : ONLINE
ที่มา: http://caistudio.into/
อ้างอิง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555 – 2559 : ฉบับที่ 11
หนังสือ ศาสตร์การสอน ( ทิศนาแขมมณี. 2557: 248-249 )
หนังสือการสร้างการเรียนรู้สู่ศัตวรรษ ที่ 21 ( วิจารณ์พานิช.2555 :16-21 )
วารสารคณิตศาสตร์ (สมวงษ์ แปลงประสพโชค , เดช บุญประจักษ์ และจรรยา ภูอุดม. 2553 : 20 - 21)
http://caistudio.into/ สืบค้น เมื่อ วันที่ 4 ธันวาคม 2558
ท่านใดสนใจสามารถเข้าดูรายละเอียด โปรแกรมCAI ได้ที่คลังสื่อบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI : ONLINE
ที่มา: http://caistudio.into/
อ้างอิง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555 – 2559 : ฉบับที่ 11
หนังสือ ศาสตร์การสอน ( ทิศนาแขมมณี. 2557: 248-249 )
หนังสือการสร้างการเรียนรู้สู่ศัตวรรษ ที่ 21 ( วิจารณ์พานิช.2555 :16-21 )
วารสารคณิตศาสตร์ (สมวงษ์ แปลงประสพโชค , เดช บุญประจักษ์ และจรรยา ภูอุดม. 2553 : 20 - 21)
http://caistudio.into/ สืบค้น เมื่อ วันที่ 4 ธันวาคม 2558
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น